ไขมัน (Lipid) คือสารชีวโมเลกุลที่ไม่ละลายในน้ำ (water-insoluble) มีหลายชนิด ทั้งสารประกอบไม่มีขั้ว (nonpolar) ละลายน้ำน้อยตลอดจนละลายน้ำมาก พวกที่ละลายน้ำได้มากจะเป็นสารประกอบจำพวกมีขั้ว (polar)
ไขมันบางตัวมีโมเลกุลเป็นเส้นตรง อะลิฟาติก (aliphatic) บางตัวมีวงแหวนเรียก อะโรมาติก (aromatic) บางตัวยืดหยุ่นบางตัวเปราะบาง ลิพิดมีโมเลกุล ส่วนใหญ่เป็นโพลาร์ และมีบางส่วนที่เป็นนอนโพลาร์ ผลคือลิพิดสามารถละลายได้ทั้งในตัวทำละลายที่เป็น โพลาร์ เช่นน้ำ และนอนโพลาร์ เช่นน้ำมัน โมเลกุลเหล่านี้ เราเรียกว่า แอมฟิฟิลิก (amphiphilic) คือในโมเลกุลเดียวกันมีทั้งส่วนที่ชอบน้ำ ไฮโดรฟิลิก (hydrophilic) และส่วนที่กลัวน้ำ ไฮโดรโฟบิก (hydrophobic) ตัวอย่างเช่น คอเลสเตอรอลส่วนที่เป็นโพลาร์ คือ -OH (ไฮดรอกซิล หรือ แอลกอฮอล)
Lipids are a broad group of naturally-occurring molecules which includes fats, waxes, sterols, fat-soluble vitamins (such as vitamins A, D, E and K), monoglycerides, diglycerides, phospholipids, and others. The main biological functions of lipids include energy storage, as structural components of cell membranes, and as important signaling molecules.
Lipids may be broadly defined as hydrophobic or amphiphilic small molecules; the amphiphilic nature of some lipids allows them to form structures such as vesicles, liposomes, or membranes in an aqueous environment. Biological lipids originate entirely or in part from two distinct types of biochemical subunits or "building blocks": ketoacyl and isoprene groups. Using this approach, lipids may be divided into eight categories: fatty acyls, glycerolipids, glycerophospholipids, sphingolipids, saccharolipids and polyketides (derived from condensation of ketoacyl subunits); and sterol lipids and prenol lipids (derived from condensation of isoprene subunits).
FA
-กรดไขมัน (fatty acid) เป็น long chain hydrocarbon C4-36 มีcarboxylate group ในสิ่งมีชีวิตเก็บ FA ในรูปtriacylglycerols (TCA) เรียกอีกอย่างว่า triacylglyceride ซึ่งเป็น ester ของ glycerol กับ FA
Fatty acyls
Fatty acyls, a generic term for describing fatty acids, their conjugates and derivatives, are a diverse group of molecules synthesized by chain-elongation of an acetyl-CoA primer with malonyl-CoA or methylmalonyl-CoA groups in a process called fatty acid synthesis. They are made of a hydrocarbon chain that terminates with a carboxylic acid group; this arrangement confers the molecule with a polar, hydrophilic end, and a nonpolar, hydrophobic end that is insoluble in water. The fatty acid structure is one of the most fundamental categories of biological lipids, and is commonly used as a building block of more structurally complex lipids. The carbon chain, typically between four to 24 carbons long, may be saturated or unsaturated, and may be attached to functional groups containing oxygen, halogens, nitrogen and sulfur. Where a double bond exists, there is the possibility of either a cis or trans geometric isomerism, which significantly affects the molecule's molecular configuration. Cis-double bounds cause the fatty acid chain to bend, an effect that is more pronounced the more double bonds there are in a chain. This in turn plays an important role in the structure and function of cell membranes. Most naturally occurring fatty acids are of the cis configuration, although the trans form does exist in some natural and partially hydrogenated fats and oils.
Examples of biologically important fatty acids are the eicosanoids, derived primarily from arachidonic acid and eicosapentaenoic acid, which include prostaglandins, leukotrienes, and thromboxanes. Other major lipid classes in the fatty acid category are the fatty esters and fatty amides. Fatty esters include important biochemical intermediates such as wax esters, fatty acid thioester coenzyme A derivatives, fatty acid thioester ACP derivatives and fatty acid carnitines. The fatty amides include N-acyl ethanolamines, such as the cannabinoid neurotransmitter anandamide.
กรดไขมันจำเป็น ( Essential Fatty Acids )
กรดไขมันจำเป็น แปลว่าเป็น กรดไขมันที่ร่างกายสร้างขึ้นใช้เองไม่ได้ต้องอาศัยการกินเข้าไป กรดไขมันจำเป็นเป็นส่วนย่อยของไขมันที่ไม่อิ่มตัว ซึ่งมีประโยชน์และมีความจำเป็นต่อร่างกาย ร่างกายต้องนำมาใช้เพื่อสร้างความสมดุลย์ ความแข็งแรง รวมทั้งการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของเซลล์ต่าง ๆ
กรดไขมันจำเป็น พบได้ในอาหารที่เราบริโภคทุกวัน ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้ กรดไขมันจำเป็น มีหลายชนิด แต่ที่เรามักได้ยินและเป็นที่ยอมรับของวิทยาศาสตร์ทั่วโลกว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายมากคือ
- โอเมก้า 3 ( Linolenic หรือ Alpha Linoleic Acid ) น้ำมันปลา ป้องกันการเกิดโรคหัวใจและอัมพาต ลดการอักเสบ ของโรคไขข้อเสื่อมรูมาตอยด์ ลดอาการปวดหัวไมเกรนและปวดประจำเดือน เพิ่มภูมิคุ้มกันร่างกายและลดอาการของ โรคภูมิแพ้
- โอเมก้า 6 ( Linoleic Acid ) น้ำ มันอีฟนิ่งพริมโรส ป้องกันการเกิดโรคหัวใจ โดยการลดการแข็งตัวของเลือดด้วย การลดการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดทำให้หลอดเลือดที่หัวใจเป็นปกติ ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ลดการขยาย ตัวของเซลล์มะเร็ง สามารถช่วยบำรุงตับและใช้ได้ผลดีในผู้ป่วยที่ดื่มสุรา หรือเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง ป้องกันโรคสมอง เสื่อมหรือโรคอัลไซเมอร์ โดยลดการแข็งตัวของเยื้อหุ้มเม็ดเลือดแดง ทำให้สมองได้รับอ๊อกซิเจนมากขึ้น
- โอเมก้า 9 ( Oleic Acid ) ช่วย ลดระดับคอเรสตอรอล ในเลือด
FAT, OIL
-FAT และ OIL เป็น TCA เหมือนกันต่างกันที่จุดหลอมเหลว FAT เป็นของแข็งหรือกึ่งแข็งที่อุณหภูมิห้อง OIL เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
-ถูกsaponifyด้วยaqueous alkaliหรือ alcoholic alkali ก็ได้
WAX
-esterของmonohydric aliphatic alcohols เรียกง่ายๆว่า long chain alcohols กับ saturated หรือ unsaturated fatty acids
-ถูกsaponifyด้วย strong alcoholic alkali เท่านั้น
*Saponification เป็นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไขมันและน้ำมันด้วยเบส เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากไขมันและ น้ำมันกับด่าง เกิดเกลือของกรดไขมัน (สบู่) กับกลีเซอรอล
Saponification is the hydrolysis of an ester under basic conditions to form an alcohol and the salt of a carboxylic acid (carboxylates). Saponification is commonly used to refer to the reaction of a metallic alkali (base) with a fat or oil to form soap. Saponifiable substances are those that can be converted into soap.
ครั้งที่่ 1 180852
source
1. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99
2. http://en.wikipedia.org/wiki/Lipid
3. http://variety.teenee.com/science/14869.html
4. http://en.wikipedia.org/wiki/Saponification
0 comments